1 Bar เท่ากับ กี่ องศา, แปลง เมกะปาสคาล ถง Bar (Mpa → Bar)

บาร์ ( อังกฤษ: bar) คือหน่วยวัด ความดัน ถึงไม่ใช่ หน่วยเอสไอ แต่ สถาบันมาตรฐานและเทคโนโลยีแห่งชาติ (NIST) ก็ได้ยอมรับการใช้งานกับหน่วยเอสไออื่น ๆ [1] หน่วยบาร์เป็นที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในการอธิบายความดัน เพราะว่ามีค่าเหมือนกันกับ ความดันบรรยากาศ สามารถใช้หน่วยนี้ได้อย่างถูกกฎหมายในกลุ่ม สหภาพยุโรป [2] ปริมาณ [ แก้] 1 บาร์ = 100000 ปาสกาล (Pa) = 100 กิโลปาสกาล (ปาสกาลก็คือหน่วย นิวตัน ต่อ ตารางเมตร) 1 บาร์ = 1, 000, 000 แบรี (barye) = 1, 000, 000 ดายน์ ต่อตารางเซนติเมตร (dyn/cm²) 1 บาร์ ≈ 0. 98692 ความดันบรรยากาศ (atm) 1 บาร์ ≈ 14. 5037744 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว (psi) ในทางกลับกัน 1 ปาสกาล = 10 −5 บาร์ 1 แบรี = 10 −6 บาร์ = 1 ไมโครบาร์ 1 ความดันบรรยากาศ ≈ 1. 01325 บาร์ 1 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ≈ 68. 948 × 10 −3 บาร์ = 68. 948 มิลลิบาร์ อ้างอิง [ แก้] ↑ Units Outside of the SI, Table 7 (from the NIST website) ↑ British Standard BS 350:2004 Conversion Factors for Units แหล่งข้อมูลอื่น [ แก้] เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของระบบเอสไอ: ตารางที่ 8 Non-SI units accepted for use with the SI การเปลี่ยนบาร์เป็นหน่วยความดันอื่น

คุณจะแปลง mm เป็น mmHg ได้อย่างไร

App ช่วยแปลงหน่วยอุณหภูมิและความดัน App ช่วยแปลงหน่วยอุณหภูมิและความดัน เขียนโดย: Purchase Engineer สวัสดีค่ะทุกๆท่าน วันนี้จะมาแนะนำตัวช่วยในการแปลงหน่วยอุณหภูมิและความดันด้วย Application Universal Unit Converter ซึ่งเป็นแอพพลิเคชั่นบน IOS และ android ที่สามารถแปลงค่าการวัดจากหน่วยวัดหนึ่งเป็นอีกหน่วยวัดหนึ่งได้อย่างง่ายดาย เช่น การวัดอุณภูมิและความดัน ดังตัวอย่าง ตัวอย่างที่ 1 เราอยากจะแปลงหน่วยอุณหภูมิจาก 373. 15 เคลวิน (K) เราจะสามารถแปลงได้กี่องศา ตามมาดูแต่ละขึ้นตอนได้เลยค่ะ ขั้นตอนที่ 1 เลือกว่าเราต้องการแปลงหน่วยอะไร เช่น Temperature (อุณหภูมิ) เมื่อต้องการแปลงหน่วยจาก เคลวิน (K) เป็นองศา (C) ขั้นตอนที่ 2 ต่อมาเรามาเลือกหน่วยที่ต้องการแปลงกันค่ะ เช่น เคลวิน (K) ขั้นตอนที่ 3 เรามาป้อนค่าที่เราต้องการแปลงกันค่ะ คือ 373. 15 เคลวิน (K) ขั้นตอนที่ 4 เราก็จะได้ค่าองศา (C) ที่เราต้องการค่ะ มาดูกันอีกสักตัวอย่างแล้วกันนะค่ะ เพื่อความเข้าใจมากขึ้น ตัวอย่างที่ 2 ถ้าเราอยากจะดูค่าความดัน 630 kPa แปลงเป็นหน่วย Bar จะเป็นค่าเท่าไรกัน? ทำได้ง่ายๆตามขั้นตอนดังนี้เลยค่ะ ขั้นตอนที่ 1 เลือกที่ Pressure เพราะเราต้องการ แปลงหน่วยความดันจาก kPa เป็น bar ขั้นตอนที่ 2 เราก็ทำการเลือกหน่วยที่เราต้องการแปลงค่ะ นั่นก็คือ kPa ตามรูปเลยค่ะ ขั้นตอนที่ 3 ป้อนค่าทางเราต้องการรูปว่ากี่ kPa เป็น กี่ bar นั่นคือ 630 kPa ขั้นตอนที่ 4 จากนั้นเราก็จะได้ทราบค่า bar มา นั่นคือ 6.

ข้อสอบ Prefinal 1_2556 | paramin kaewdee

  1. บาร์ (หน่วยวัด) - วิกิพีเดีย
  2. ห้อง พัก ยะลา เบตง
  3. รูป จาก เส้น
  4. รวมโปรสล็อต ฝาก10รับ100 ล่าสุด
  5. หมอน รอง คอ acmebell
  6. ขายที่ดินแถมบ้านถนนเพิ่มสินเขตสายไหม | ENNXO
  7. เกม 18 download version

ทำไมหลายๆคนเข้าใจว่า pressure 1bar =14.7psi - Pantip

แบบทดสอบทฤษฎีจลน์ของแก๊ส 1. อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสเท่ากับกี่เคลวิน ก. 273 ข. 285 ค. 290 ง. 293 2. อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียสเท่ากับกี่องศา ฟาเรนไฮต์ ก. 89 ข. 102 ค. 121 ง. 122 3. อุณหภูมิ 40 องศาโรเมอร์เท่ากับกี่องศาเซลเซียส ก. 30 ข. 40 ค. 50 ง. 60 4. ณ อุณหภูมิเท่าใด องศาเซลเซียสและองศา ฟาเรนไฮต์จึงจะอ่านค่าได้เท่ากัน ก. –40 ข. –45 ค. –50 ง. –55 5. ปริมาณความร้อนที่ให้แก่สารต่อมวลหนึ่งหน่วยต่ออุณหภูมิหนึ่งหน่วยคือปริมาณใด ก. ความจุความร้อน ข. ความจุความร้อนจำเพาะ ค. ความร้อนแฝง ง. ความร้อนแฝงจำเพาะ 6. เมื่อวัตถุสองชนิดอยู่ในสภาพสมดุลความร้อน หมายความว่าอย่างไร ก. มีอุณหภูมิเท่ากัน ข. มีปริมาณความร้อนเท่ากัน ค. มีความจุความร้อนเท่ากัน ง. ขยายตัวได้เท่ากัน 7. ปริมาณความร้อนที่ทำให้น้ำมวล 2 กิโลกรัม ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียสมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเป็น 37 องศาเซลเซียส กำหนดให้น้ำมีความจุความร้อน 4 กิโลจูล / กิโลกรัม-เคลวิน ก. 60 KJ ข. 70 KJ ค. 80 KJ ง. 90 KJ 8. จงหาปริมาณความร้อนที่ทำให้น้ำแข็ง 10 กิโลกรัมระเหยกลายเป็นไอน้ำจนหมด เมื่อ ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 4 กิโลจูล / กิโลกรัม-เคลวิน ความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลวของน้ำเท่ากับ 300 กิโลจูล / กิโลกรัม และความร้อนแฝงจำเพาะของการกลายเป็นไอของน้ำเท่ากับ 2, 200 กิโลจูล / กิโลกรัม ก.

แปลง เมกะปาสคาล ถง Bar (MPa → bar)

10 19. พลังงานภายในระบบ คืออะไร ก. อุณหภูมิของวัตถุ ข. งานที่ระบบทำ ค. พลังงานศักย์ของโมเลกุล ง. พลังงานศักย์และพลังงานจลน์ของโมเลกุล 20. กระบวนการที่ปริมาตรในระบบมีค่าคงที่ เรียกว่าเป็นกระบวนการใด ก. กระบวนการอะเดียบาติก ข. กระบวนการไอโซบาริก ค. กระบวนการไอโซคลอริก ง. กระบวนการไอโซเทอร์มอล 21. กระบวนการที่ความดันในระบบมีค่าคงที่ เรียกว่าเป็นกระบวนการใด (ใช้ตัวเลือกในข้อ 20) 22. กระบวนการที่อุณหภูมิในระบบมีค่าคงที่ เรียกว่าเป็นกระบวนการใด (ใช้ตัวเลือกในข้อ 20) 23. กระบวนการที่ปริมาณความร้อนในระบบมีค่าคงที่ เรียกว่าเป็นกระบวนการใด (ใช้ตัวเลือกในข้อ 20) 24. ก๊าซฮีเลียม 2 โมล มีปริมาตร 30 ลิตร มีความดัน 16. 62 บรรยากาศ ( 1 บรรยากาศ เท่ากับ 105 N/m2) ถ้ามวลโลเลกุลของฮีเลียมเท่ากับ 4 และ Vr. m. s = 4, 323. 5 m/s แต่ละโมเลกุลของก๊าซจะมีพลังงานจลน์เฉลี่ยกี่จูล ก. 5. 12 x10-15 ข. 68 x10-18 ค. 6. 21 x10-20 ง. 68 x10-22 25. ถ้านำก๊าซฮีเลียม 1 โมล ที่ 60 องศาเซลเซียส มาผสมกับก๊าซนีออน 2 โมล ที่ 30 องศาเซลเซียส อุณหภูมิของก๊าซผสมจะเป็นกี่เคลวิน ก. 300 ข. 313 ค. 323 ง. 331 26. นำก๊าซฮีเลียม 2 x106 โมเลกุล 60 องศาเซลเซียส ผสมกับก๊าซนีออน 1 x106 โมเลกุล 30 องศาเซลเซียส อุณหภูมิของก๊าซผสมจะเป็นกี่เคลวิน ก.

แปลง ความ ดัน,แปลงหน่วย , แปลงหน่วย

54 9. 36 8. 87 6. HYDROELECTRIC (kWh) 7. พลังงานความร้อนใต้พิภพ 7. GEOTHERMAL (kWh) (กิโลวัตต์ชั่วโมง) 8. ถ่านหินนำเข้า (กก. ) 6, 300 624. 19 26. 37 25. 00 8. COAL IMPORT (kg. ) 9. ถ่านโค้ก (กก. ) 6, 600 653. 92 27. 63 26. 19 9. COKE (kg. ) 10. แอนทราไซต์ (กก. ) 7, 500 743. 09 31. 40 29. 76 10. ANTHRACITE (kg. ) 11. อีเทน (กก. ) 11, 203 1110. 05 46. 89 44. 45 11. ETHANE (kg. ) 12. โปรเพน (กก. ) 11, 256 1115. 34 47. 11 44. 67 12. PROPANE (kg. ) 13. ลิกไนต์ 13. LIGNITE 13. 1 ลี้ (กก. ) 4, 400 435. 94 18. 42 17. 46 13. 1 LI (kg. 2 กระบี่ (กก. ) 2, 600 257. 60 10. 88 10. 32 13. 2 KRABI (kg. 3 แม่เมาะ (กก. ) 2, 500 247. 70 10. 47 9. 92 13. 3 MAE MOH (kg. 4 แจ้คอน (กก. ) 3, 610 357. 67 15. 11 14. 4 CHAE KHON (kg. ) Kcal/UNIT พลังงานใหม่และหมุนเวียน NEW & RENEWABLE ENERGY 1. ฟืน (กก. ) 3, 820 378. 48 15. 99 15. 16 1. FUEL WOOD (kg. ) 2. ถ่าน (กก. ) 6, 900 683. 64 28. 88 27. 38 2. CHARCOAL (kg. แกลบ (กก. ) 3, 440 340. 83 14. 40 13. 65 3. PADDY HUSK (kg. กากอ้อย (กก. ) 1, 800 178. 34 7. 53 7. 14 4.

หน้าหลัก ตัวแปลงหน่วย การแปลงความดัน ปาสคาล เป็น บาร์ แปลงปาสคาล (Pa) เป็นบาร์ (bar) ใส่ค่าของปาสคาลเพื่อแปลงไปยังบาร์ ไปยังหน่วย 1 ปาสคาลเท่ากับกี่บาร์ 1 ปาสคาล = 1. 0 × 10 -5 บาร์ สูตรการแปลง bar = Pa × 1. 0 × 10 -5 การคำนวณ เพื่อแปลงจากบาร์ (bar) เป็นปาสคาล (Pa) ให้ทำตามขั้นตอนต่อไปนี้ ขั้นตอนที่ 1: กำหนดสูตร ขั้นตอนที่ 2: แทนค่าลงในสูตร bar = 1 × 1. 0 × 10 -5 ขั้นตอนที่ 3: คำนวณหาผลลัพธ์ bar = 1. 0 × 10 -5 ดังนั้น 1 ปาสคาล มีค่าเท่ากับ 1. 0 × 10 -5 บาร์ แปลง ปาสคาล เป็น บาร์ ปาสคาล บาร์ 1 ปาสคาล 1. 0 × 10 -5 บาร์ 2 ปาสคาล 2. 0 × 10 -5 บาร์ 5 ปาสคาล 5. 0 × 10 -5 บาร์ 10 ปาสคาล 0. 0001 บาร์ 20 ปาสคาล 0. 0002 บาร์ 50 ปาสคาล 0. 0005 บาร์ 100 ปาสคาล 0. 001 บาร์ 500 ปาสคาล 0. 005 บาร์ 1000 ปาสคาล 0. 01 บาร์ 5000 ปาสคาล 0. 05 บาร์ 10000 ปาสคาล 0. 1 บาร์ 50000 ปาสคาล 0. 5 บาร์ แปลง บาร์ เป็น ปาสคาล บาร์ ปาสคาล 1 บาร์ 100, 000 ปาสคาล 2 บาร์ 200, 000 ปาสคาล 5 บาร์ 500, 000 ปาสคาล 10 บาร์ 1, 000, 000 ปาสคาล 20 บาร์ 2, 000, 000 ปาสคาล 50 บาร์ 5, 000, 000 ปาสคาล 100 บาร์ 10, 000, 000 ปาสคาล 500 บาร์ 50, 000, 000 ปาสคาล 1000 บาร์ 100, 000, 000 ปาสคาล 5000 บาร์ 500, 000, 000 ปาสคาล 10000 บาร์ 1, 000, 000, 000 ปาสคาล 50000 บาร์ 5, 000, 000, 000 ปาสคาล ตารางการแปลงจาก ปาสคาล เป็น บาร์ คุณสามารถปรับแต่งตารางแผนภูมิโดยเลือกตัวเลือกด้านล่างและคลิกกำหนดเพื่อเริ่มต้น ปาสคาล บาร์ 1 ปาสคาล 1.
Wednesday, 21-Sep-22 19:50:02 UTC