ข้อสอบ เครื่องหมาย วรรค ตอน

Home » หลักภาษาไทย » สรุปภาษาไทย เครื่องหมาย วรรคตอน วันนี้เรามาดูเนื้อหาเรื่องเครื่องหมายวรรคตอน ในภาษาไทย ซึ่งจริงๆแล้วก็คือเครื่องหมายต่างๆ ที่อยู่ในภาษาไทยครับน้องๆ พี่เพชรเข้าใจว่าหลายคน เคยเจอมาแล้ว จากการอ่านหนังสือต่างๆแต่ประเด่นที่เรามาศึกษาวันนี้คือ เราจะต้องมาดูว่าแต่ละตัวมีชื่ออะไรบ้าง และ มันทำอะไรได้บ้างครับ หน้าที่ของเครื่องหมายวรรคตอน 1. " ——– " มีชื่อเรียกว่า อัญประกาศ (ฟันหนู) มีหน้าที่ คือใช้คั่นข้อความที่เป็นคำพูด ของผู้อื่น หรือ ยกมาจากที่อื่น เช่น วันนี้พี่สาวถามฉันว่า " น้องกินข้าวรึยัง? " 2. _____ มีชื่อเรียกว่า สัญประกาศ (ขีดเส้นใต้) มีหน้าที่ ให้ขีดเส้นใต้คำ หรือข้อความที่เราจำเป็นต้องเน้นความสำคัญ เพื่อให้ผู้อ่านสังเกต และเห็นชัดเจน เช่น ถ้าคนไทยทุกคน รักกันมากกว่า ประเทศชาติคงจะสงบสุข 3. ( ………) มีชื่อเรียกว่า นขลิขิต ( เราชอบเรียกว่าวงเล็บ) มีหน้าที่ ใช้คั่นข้อความที่ต้องการให้อ่น ซึ่งต้องการอธิบาย หรือขยายความหมายของข้อความนั้น สังเกตจากข้างบนพี่เพชรก็มีการขยายความว่า "เราชอบเรียกว่าวงเล็บ" 4.. มีชื่อเรียกว่า มหัพภาค (เราเรียกว่าจุด) มีหน้าที่ ใช้จบข้อความในประโยค หรือ กำกับตัวอักษรย่อ เช่น ซอย ตัวย่อ คือ ซ.

Free Download&Read PDF E-Book: แบบเรียนภาษาไทย เครื่องหมายวรรคตอน

  • เครื่องหมายวรรคตอนน่ารู้ - สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.5 | ใบงานเครื่องหมายวรรคตอนเนื้อหาที่เกี่ยวข้องล่าสุดทั้งหมด
  • ข้อสอบเครื่องหมายวรรคตอน doc
  • 'ขายของออนไลน์' มียอดขายเท่าไร ถึงต้อง 'ยื่นภาษี' ?

*จุดจะมองยากหน่อยนะครับเพราะตัวมันเล็ก มกราคม ตัวย่อ คือ ม. ค. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ตัวย่อ คือ ท. ท. ท. 5. – มีชื่อเรียกว่า ยัติภังค์ (เราเรียกว่าเครื่องหมาย ลบ) มีหน้าที่ เป็นเครื่องหมายต่อคำ ใช้ในกรณีที่เราเขียนจบบรรทัดแล้วแต่คำอีกพยางค์ต้องขึ้นบรรทัดใหม่ เราก็จะใช้ เจ้า ยัติภังค์ ในการต่อเพื่อให้รู้ว่าคำ คำนั้นยังไม่จบ หรือ เราสามารถใช้กับตัวเลขก็ได้ มีความหมายว่า ถึง เช่น ผู้ที่สอบเข้า ม. 1 ได้ มีตั้งแต่ลำดับที่ 1 – 200 (หนึ่งถึงสองร้อย) 6. ฯลฯ มีชื่อเรียนกว่า ไปยาลใหญ่ (เราเรียกว่า เก้า ลอ เก้า) มีหน้าที่ บอกว่ายังมีคำ หรือ ข้อความต่อท้ายในลักษณะเดียวกันอีกหลายคำ หรือ หลายข้อความ โดยที่เราจะอ่าน ฯลฯ ว่าละ เช่น ในสวนสัตว์มีสัตว์มากมาย เช่น ช้าง ม้า กระทิง หมี ฯลฯ โดยเราจะอ่านว่า ในสวนสัตว์มีสัตว์มากมาย เช่น ช้าง ม้า กระทิง หมี ละ 7. ฯ มีชื่อเรียกว่า ไปยาลน้อย มีหน้าที่ ใช้ย่อข้อความที่เรารู้จักดีว่าชื่อเต็มคืออะไรทำให้เขียนสั้นลง แต่เวลาอ่านจะต้องอ่านเต็มข้อความ เช่น กรุงเทพ ฯ ย่อมาจาก กรุงเทพมหานคร อ่านว่า กรุง-เทบ-มะ-หา-นะ-คอน โปรดเกล้า ฯ ย่อมาจาก โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม อ่านว่า โปรด-เกล้า-โปรด-กระ-หม่อม 8.

เครื่องหมายวรรคตอนน่ารู้ - สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.5 | ใบงานเครื่องหมายวรรคตอนเนื้อหาที่เกี่ยวข้องล่าสุดทั้งหมด

จงเติมเครื่องหมายวรรคตอนให้ถูกต้อง 1. โธ่เอ๋ย นึกว่าเก่ง 2. สำลีพูดว่า ไม่เป็นไรเดี๋ยวก็หายเจ็บแล้ว 3. คำว่า เขา ในที่นี้หมายถึงใคร 4. แหม ทำอะไรให้เร็ว หน่อยซิ 5. เด็ก ในห้องนี้สามัคคีกันดีมาก 6. ลูก ชอบไปเล่นที่สนามเด็กเล่น 7. อุปสรรค อ่านว่า อุบ-ปะ-สัก กรรมกร กำ - มะ -กอน 8. ผลไม้มีหลายชนิด เช่น ส้ม กล้วย มังคุด 9. เครื่องเขียนที่ต้องเอาไปโรงเรียน ได้แก่ ดินสอ ปากกา ยางลบ 10. วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดพระแก้ว ข้อ 11 -15 จงตอบคำถาม 11.! เรียกว่า เครื่องหมาย........................................................ 12. " เรียกว่า เครื่องหมาย......................................................... 13. ฯลฯ เรียกว่า เครื่องหมาย................................................... 14., เรียกว่า เครื่องหมาย.......................................................... 15 บ้านเลขที่ 50/1 อ่านว่า.......................................................... เฉลย 1. โธ่เอ๋ย! นึกว่าเก่ง 2. สำลีพูดว่า " ไม่เป็นไรเดี๋ยวก็หายเจ็บแล้ว " 3. คำว่า " เขา " ในที่นี้หมายถึงใคร? 4. แหม! ทำอะไรให้เร็ว ๆ หน่อยซิ 5. เด็ก ๆ ในห้องนี้สามัคคีกันดีมาก 6.

ข้อสอบ เครื่องหมายวรรคตอน

แนวข้อสอบภาษาไทย ป.4 เรื่องการใช้เครื่องหมายวรรคตอน ชุดที่ 1

Wednesday, 21-Sep-22 19:42:08 UTC